คุณกำลังมองหาอะไร?

 

  Area 2: EDUCATIONAL PROGRAMME  

   องค์ประกอบที่ 2: แผนการฝึกอบรม/หลักสูตรการฝึกอบรม  

 

 2.1 FRAMEWORK OF THE PME PROGRAMME  กรอบของแผนงานฝึกอบรมระดับหลังปริญญา 

B 2.1.1 กำหนดกรอบของการฝึกอบรมบนพื้นฐานของผลสัมฤทธิ์ที่พึงประสงค์  คลิกดาวน์โหลด

B 2.1.2 บริหารจัดการกรอบการฝึกอบรมอย่างเป็นระบบและโปร่งใส   คลิกดาวน์โหลด

B 2.1.3 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเองอย่างเต็มตัวโดยไม่ต้องมีการกำกับดูแล   คลิกดาวน์โหลด

B 2.1.4 สามารถปฏิบัติงานแบบสหวิชาชีพหรือเป็นทีมได้  คลิกดาวน์โหลด

B 2.1.5 มีเจตนารมณ์และเตรียมพร้อมที่จะเรียนรู้ตลอดชีวิต เข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง (CME) หรือการพัฒนาวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง (CPD)  คลิกดาวน์โหลด

B 2.1.6 สามารถดูแลรักษาผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสม มีประสิทธิภาพ มีความเอื้ออาทร และใสใจในความปลอดภัยเพื่อการแก้ไขปัญหาและการส่งเสริมสุขภาพ โดยยึดถือผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางบนพื้นฐานของการดูแลแบบองค์รวม  คลิกดาวน์โหลด

B 2.1.7 ใช้วิธีการสอนและวิธีการเรียนรู้ที่เหมาะสม ซึ่งทำให้เชื่อมั่นได้ว่ามีการบูรณาการระหว่างภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ  คลิกดาวน์โหลด

B 2.1.8 ใช้หลักการของผู้เข้ารับการฝึกอบรมเป็นศูนย์กลาง เพื่อกระตุ้น เตรียมความพร้อมและสนับสนุนให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้แสดงความรับผิดชอบต่อกระบวนการเรียนรู้ของตนเองและได้สะท้อนการเรียนรู้นั้นๆ (self-reflection)  คลิกดาวน์โหลด

B 2.1.9 ชี้นำผู้เข้ารับการฝึกอบรมโดยอาศัยหลักการของการกำกับดูแล (supervision) การประเมินค่า (appraisal) และการให้ข้อมูลป้อนกลับ (feedback)  คลิกดาวน์โหลด

B 2.1.10 ให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมรับทราบข้อมูลเกี่ยวกับแผนการฝึกอบรม/หลักสูตร สิทธิและหน้าที่ของผู้เข้ารับการฝึกอบรม  คลิกดาวน์โหลด

B 2.1.11 รวมความรับผิดชอบหรือพันธสัญญาในข้อพิจารณาด้านจริยธรรมเข้าไปในแผนการฝึกอบรม/หลักสูตรด้วย  คลิกดาวน์โหลด

B 2.1.12 จัดให้มีการฝึกอบรมโดยยึดหลักความเท่าเทียม  คลิกดาวน์โหลด

B 2.1.13 ทำให้เชื่อมั่นได้ว่าแผนการฝึกอบรมสามารถทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีสภาวะการทำงานที่เหมาะสมและสามารถรักษาสุขภาพของผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้อย่างสมดุล  คลิกดาวน์โหลด

Q 2.1.1 ตระหนักในข้อกำหนดทางเพศ วัฒนธรรม และศาสนา รวมทั้งเตรียมความพร้อมให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถมีปฏิสัมพันธ์ได้อย่างเหมาะสม  คลิกดาวน์โหลด

 

 2.2 SCIENTIFIC METHOD  กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 

B 2.2.1 แนะนำพื้นฐานและวิธิการศึกษาวิจัยทางการแพทย์ไว้ในการฝึกอบรม ทั้งการวิจัยทางคลินิกและคลินิกด้านระบาดวิทยาคลินิก  คลิกดาวน์โหลด

B 2.2.2 รวมการสอนเรื่องการวิพากษ์ (critical appraisal) งานวิจัยและข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ไว้อย่างเป็นทางการ  คลิกดาวน์โหลด

B 2.2.3 สถาบันต้องทำให้เชื่อมั่นได้ว่าผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความสามารถในการใช้เหตุและผลที่เป็นวิทยาศาสตร์  คลิกดาวน์โหลด

B 2.2.4 สถาบันต้องทำให้เชื่อมั่นได้ว่าผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถประยุกต์ใช้เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ผ่านประสบการณ์ทางคลินิกที่หลากหลายและสอดคล้องกับสาขาวิชาที่เรียน  คลิกดาวน์โหลด

B 2.2.5 ปรับปรุงเนื้อหาตามข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลง  คลิกดาวน์โหลด

 

 2.3 PROGRAMME CONTENT  เนื้อหาของโปรแกรม 

B 2.3.1 พื้นฐานความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ชีวการแพทย์ การบริบาลโรคหรือภาวะของผู้ป่วย การป้องกันโรค การสร้างเสริมสุขภาพ และฟื้นฟูสภาพ  คลิกดาวน์โหลด

B 2.3.2 หัตถการทางคลินิค  คลิกดาวน์โหลด

B 2.3.3 การตัดสินใจทางคลินิก  คลิกดาวน์โหลด

B 2.3.4 การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล  คลิกดาวน์โหลด

B 2.3.5 ทักษะการสื่อสาร  คลิกดาวน์โหลด

B 2.3.6 จริยธรรมทางการแพทย์  คลิกดาวน์โหลด

B 2.3.7 การสาธารณสุขและระบบบริการสุขภาพ  คลิกดาวน์โหลด

B 2.3.8 กฎหมายทางการแพทย์  คลิกดาวน์โหลด

B 2.3.9 หลักการบริหารจัดการ คลิกดาวน์โหลด

B 2.3.10 ความปลอดภัยและสิทธิของผู้ป่วย คลิกดาวน์โหลด

B 2.3.11 การดูแลสุขภาวะทั้งกายและใจของแพทย์ คลิกดาวน์โหลด

B 2.3.12 การแพทย์ทางเลือกในบริบทของสาขาวิชา คลิกดาวน์โหลด

B 2.3.13 ระเบียบวิจัยทางการแพทย์ และเวชศาสตร์ระบาดวิทยาทางคลินิก คลิกดาวน์โหลด

B 2.3.14 เวชศาสตร์อิงหลักฐานเชิงประจักษ์ คลิกดาวน์โหลด

B 2.3.15 พฤติกรรมและสังคมศาสตร์ในบริบทของสาขาวิชา คลิกดาวน์โหลด

B 2.3.16 ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของโลก (เช่น วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรค สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และอุบัติภัย) คลิกดาวน์โหลด

 

 2.4 PROGRAMME STRUCTURE, COMPOSITION AND DURATION โครงสร้าง องค์ประกอบและระยะเวลาของการฝึกอบรม 

B 2.4.1 อธิบายโครงสร้างทั้งหมดและองค์ประกอบ รวมทั้งระยะเวลาของการฝึกอบรม  คลิกดาวน์โหลด

B 2.4.2 แสดงให้เห็นถึงองค์ประกอบภาคบังคับและองค์ประกอบทางเลือกในการฝึกอบรม  คลิกดาวน์โหลด

B 2.4.3 บูรณาการทฤษฎีเข้ากับภาคปฏิบัติ  คลิกดาวน์โหลด

B 2.4.4 เปิดโอกาสให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้มีประสบการณ์ในการทำงานในระบบสุขภาพระดับต่างๆ ให้เห็นความจำเป็นด้านสุขภาพของประชาชน (ตามลักษณะและความจำเป็นของแต่ละสาขาวิชา)  คลิกดาวน์โหลด

Q 2.4.1 ทางเลือกอื่นๆ ที่นอกเหนือจากการใช้ time-based education  คลิกดาวน์โหลด

 

 2.5 ORGANISATION OF EDUCATION  การบริหารจัดการด้านการฝึกอบรม 

B 2.5.1 กำหนดความรับผิดชอบและอำนาจในการจัดการ การประสานงาน การบริหาร และการประเมินผล สำหรับแต่ละส่วนงานและขั้นตอนของการฝึกอบรม  คลิกดาวน์โหลด

B 2.5.2 มีตัวแทนของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก (อาจารย์ คณะกรรมการหลักสูตร) ในการวางแผนการฝึกอบรม  คลิกดาวน์โหลด

B 2.5.3 วางแผนการฝึกอบรมให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้มีโอกาสสัมผัสประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลาย ในสาขาวิชาที่ฝึกอบรม  คลิกดาวน์โหลด

B 2.5.4 บริหารจัดการการฝึกอบรมโดยคำนึงถึงความปลอดภัยและความอิสระของผู้ป่วยอย่างเหมาะสม คลิกดาวน์โหลด

B 2.5.5 ทำให้เชื่อมั่นได้ว่ามีการเรียนรู้จากหลายแหล่ง (หอผู้ป่วยนอก หอผู้ป่วยภาวะวิกฤติ หอผู้ป่วยเฉพาะโรค รพ.elective และอื่นๆ)  คลิกดาวน์โหลด

B 2.5.6 ประสานงานกับแหล่งความรู้ต่างๆ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้สัมผัสประสบการณ์ที่หลากหลายมากขึ้นในสาขาวิชาที่เลือกฝึกอบรม  คลิกดาวน์โหลด

 

 2.6 THE RELATION BETWEEN PME AND SERVICE  ความสัมพันธ์ระหว่างแผนการฝึกอบรมและงานบริการ 

B 2.6.1 อธิบายและให้ความสำคัญว่าการฝึกงานนั้นเป็นการพัฒนาวิชาชีพ  คลิกดาวน์โหลด

B 2.6.2 บูรณาการการฝึกอบรมเข้ากับงานบริการ  คลิกดาวน์โหลด

B 2.6.3 ทำให้เชื่อมั่นได้ว่าการฝึกอบรมและงานบริการส่งเสริมซึ่งกันและกัน  คลิกดาวน์โหลด